ข้อสอบใบขับขี่ พร้อมเฉลย เรื่อง การคาดการณ์อุบัติเหตุ
20/04/2025 | อ่าน 0
-
- จอดรถบริเวณที่ปลอดภัย เปิดไฟหน้ารถและเปิดไฟฉุกเฉิน
- เปิดไฟหน้าเร่งความเร็วผ่านบริเวณที่ฝนตกหนัก
- เร่งความเร็วให้ผ่านบริเวณที่ฝนตกโดยเร็ว
- จอดรถทันที
-
- รถโดยสารอาจเคลื่อนที่โดยฉับพลัน
- ผู้เดินเท้าอาจเดินออกมาทางข้างหลังรถโดยสาร
- รถโดยสารอาจเสียอยู่
- ไม่ต้องระวัง เนื่องจากเป็นถนนฝั่งตรงข้าม
-
- ขับรถให้เร็วขึ้น
- ลดความเร็ว
- จอดรถทันที
- ขับตามปกติ
-
- สภาพการจราจรคล่องตัว
- เวลากลางคืนแสงไฟสว่างเพียงพอ
- เวลากลางวันไม่มีฝนตก
- ฝนตก มีหมอก ถนนลื่น
-
- อย่างน้อย 4 เมตร เหลือพื้นที่ให้รถบรรทุก
- อย่างน้อย 1 เมตร เพราะอาจมีรถคันอื่นเปิดประตู
- อย่างน้อย 2 เมตร เหลือพื้นที่ให้รถยนต์แซง
- อย่างน้อย 3 เมตร เหลือพื้นที่ให้รถจักรยานยนต์แซง
-
- ระมัดระวังผู้โดยสารที่ลงจากรถโดยสารประจำทาง
- บีบแตร
- เร่งความเร็วแซงรถประจำทางไป
- ตามหลังรถโดยสารประจำทางอย่างกระชั้นชิด
-
- ขับในระยะปกติเพื่อไม่ให้เปลืองพื้นที่ในการใช้ถนน
- เว้นระยะให้มากขึ้น เพื่อในกรณีที่รถจักรยานยนต์หักเลี้ยวเพื่อหลบหลุมที่พื้น
- ขับตามระยะกระชั้นชิด เพื่อที่รถจักรยานยนต์จะได้มองเห็นผ่านกระจก
- แซงในทันที
-
- เมื่อทำการหยุดรถในสถานการณ์ฉุกเฉิน
- เมื่อขับรถบนถนนที่มีผิวถนนดี
- เมื่อขับรถลงทางลาดชัน
- เมื่อทำการหยุดรถในสถานการณ์ปกติ
-
- อาจมีคนขายพวงมาลัย
- รถข้างหน้าอาจจะดับ
- การจราจรติดขัด
- อาจจะไปชนกับรถที่วิ่งฝ่าฝืนสัญญาณไฟแดงมาอีกทาง
-
- เมื่อแท็กซี่อาจหยุดกะทันหัน แก้ไขโดยเว้นระยะห่างให้เหมาะสม
- เมื่อรถจอดกลางถนนอาจมีคนเปิดประตูแก้ไขโดยให้สัญญาณและลดความเร็ว
- เมื่อเห็นทางโค้งอาจมีรถวิ่งกินเลนมา แก้ไขโดยลดความเร็ว
- เมื่อเจอทางสามแยก แก้ไขโดยบีบแตรและเร่งความเร็วชิงเลี้ยวก่อน
-
- เพื่อฝึกสมาธิในขณะขับรถ
- เพื่อสังเกตอันตรายที่อาจเกิดขึ้นล่วงหน้าได้
- ผ่อนคลายสายตาจากการขับรถ
- เพื่อการแซง
-
- เปลี่ยนช่องจราจรไปทางซ้าย
- ขับแทรกระหว่างรถกระบะและรถบรรทุก เนื่องจากมีช่องว่างที่เพียงพอ
- ชะลอรถเพื่อให้ทางรถกระบะ
- เปลี่ยนช่องจราจรไปทางขวา
-
- ผู้ขับขี่สามารถกะระยะในการแซงได้
- ผู้ขับขี่สามารถรักษาระยะห่างกับยานพาหนะคันอื่นๆ ได้ในทุกความเร็วที่ขับขี่
- ผู้ขับขี่สามารถเร่งความเร็วได้ทุกเมื่อ
- ผู้ขับขี่สามารถเลี่ยงเขม่าดำจากควันรถคันข้างหน้าได้
-
- รถจักรยานยนต์รับผู้โดยสาร
- รถบัสแทรกเลนซ้าย
- สัญญาณไฟจราจรเปลี่ยนเป็นเหลือง
- รถคันข้างหน้าเร่งความเร็ว
-
- รถบรรทุกอาจจะเบรกกะทันหัน
- คนขับรถบรรทุกอาจจะเร่งความเร็วของรถ
- ประตูหลังรถบรรทุกอาจปิดไม่สนิท ทำให้สิ่งของตกลงมา
- รถบรรทุกบดบังทัศนวิสัยในการขับของผู้ขับรถยนต์ A
-
- รถที่วิ่งสวนทาง
- รถทางข้างหลัง
- รถที่วิ่งตรงมาทางขวา
- รถทางด้านซ้าย
-
- ตั้งที่ด้านหลังทั้งสองข้างของกระจกหลังรถ
- ตั้งอยู่ด้านข้าง มักจะอยู่ระหว่างประตูหน้าและหลัง
- ตั้งที่ด้านหน้าของรถทั้งสองข้างของกระจกหน้ารถ
- ตั้งที่ด้านบนของตัวรถ ทำหน้าที่รับสัญญาณวิทยุ
-
- ช่วยลดปัญหารถติด โดยการสนับสนุนการใช้รถสาธารณะ
- ช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุรุนแรง
- ผิดทุกข้อ
- ช่วยให้ผู้ขับขี่เข้าใจในการเคลมประกันรถ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ
-
- ป้ายเตือน
- ข้างหน้าทางโค้งและมีระดับ
- รถยนต์จากเลนตรงข้าม
- ต้นไม้หล่น
-
- เทคนิคสำหรับตรวจเช็กระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างรถคันหน้า
- เทคนิคสำหรับตรวจเช็กความเร็วของถนนในแต่ละเลน
- เทคนิคสำหรับตรวจเช็กระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างรถคันข้าง
- เทคนิคสำหรับตรวจเช็กระยะห่างที่เหมาะสมของรถกับแยกข้างหน้า
-
- มีเวลาในการมองเห็น สังเกต ตัดสินใจ และตอบสนอง
- ช่วยให้รถในเลนอื่นสามารถแซงเข้ามาได้
- ช่วยประหยัดน้ำมัน
- เผื่อระยะสำหรับการแซง
-
- เหมาะสมกับถนนเส้นนั้น
- ช้าที่สุดเท่าที่จะทำได้
- เท่าไรก็ได้ หากไม่มีป้ายแนะนำความเร็ว
- เท่าไรก็ได้ หากไม่มีกล้องตรวจจับความเร็ว
-
- เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถสังเกตเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทางด้านหน้า และด้านหลังรถได้
- เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถสังเกตเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทางด้านหน้า และด้านบนรถได้
- เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถสังเกตเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทางด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังรถได้
- เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถสังเกตเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทางด้านหลังรถได้
-
- นายเอ รักษาระยะห่างจากรถคันหน้าได้น้อยเกินไป
- นายเอ กำลังเตรียมตัวที่จะแซงขวา
- นายเอ รักษาระยะห่างจากรถคันหน้าได้มากเกินไป
- นายเอ รักษาระยะห่างจากรถคันหน้าได้เหมาะสม
-
- บีบแตรเพื่อเตือนคนเดิน
- เปลี่ยนช่องจราจรไปทางขวา
- ชะลอความเร็วเมื่ออยู่ในเขตชุมชน
- เปิดกระจกเพื่อซื้อของ
-
- ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุที่รุนแรงบนท้องถนน
- ผู้ขับขี่สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์อันตรายที่จะเกิดขึ้นได้อย่างถูกวิธี
- ลดอัตราการใช้เชื้อเพลิง
- ผู้ขับขี่สามารถคาดการณ์อุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นได้
-
- รถยนต์ข้างหน้า
- รถกระบะจากทางด้านซ้าย
- รถจากทางร่วมด้านขวา
- คอนกรีตกั้นช่องจราจร
-
- ด้านขวา
- ด้านซ้าย
- ด้านบน
- ด้านหน้า
-
- 270 องศา
- 300 องศา
- 90 องศา
- 360 องศา
-
- มอง สังเกต วิเคราะห์, รักษาระยะห่างที่ปลอดภัย, การเคลมประกันภัยเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
- รักษาระยะห่างที่ปลอดภัย, มอง สังเกต วิเคราะห์, การช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ
- รักษาระยะห่างที่ปลอดภัย, การเร่งเครื่องยนต์ที่ถูกวิธี, การแจ้งเจ้าหน้าที่หลังจากการเกิดอุบัติเหตุ
- รักษาระยะห่างที่ปลอดภัย, มอง สังเกต วิเคราะห์, ตอบสนองและปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ
-
- ถูกทุกข้อ
- มุมอับจากข้างหลังรถที่จอดอยู่
- สัญญาณกันขโมยดังขึ้น
- ประตูรถของคันที่จอดอยู่เปิดออกกะทันหัน
-
- เว้นระยะห่างอย่างน้อย 6 วินาทีระหว่างรถของเรากับรถที่วิ่งตรงมาทางขวา
- ต้องเร่งความเร็วเพื่อให้เข้ากับความเร็วของจราจรบนถนนที่รถกำลังเลี้ยว
- หักพวงมาลัยน้อยกว่าการเลี้ยวขวา
- หักพวงมาลัยมากกว่าการเลี้ยวขวา
-
- รถกู้ภัย ขับแทรกมาด้วยความเร็ว
- ถูกทุกข้อ
- รถคันอื่นหักหลบกะทันหันเพื่อเลี่ยงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
- คน หรือ รถ วิ่งตัดหน้าเพื่อมาช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
-
- ตำแหน่ง A และ C
- ตำแหน่ง C
- ตำแหน่ง A
- ตำแหน่ง B
-
- คัน A
- คัน A และ B
- คัน B
- ไม่ต้องระวังเนื่องจากอยู่ในระยะที่ปลอดภัยในขณะเลี้ยว
-
- ตรวจสอบจุดบอด
- ตรวจสอบกระจกข้างซ้าย
- ตรวจสอบกระจกข้างขวา
- ตรวจสอบยางรถ
-
- จุดบอดเสา B
- จุดบอดเสา C
- จุดบอดเสา A
- จุดบอดเสา D
-
- มุมอับที่ทำให้ไม่เห็นคนที่วิ่งออกมา
- รถจักรยานยนต์ขับแทรก
- ถูกทุกข้อ
- ไฟอาจจะลัดวงจร
-
- การเลี้ยวเข้าซอย
- การถอยรถ
- การเลี้ยวซ้าย
- การแซงซ้าย
-
- มองไม่เห็น เนื่องจากรถยนต์คัน A อยู่ในมุมบอดของรถบรรทุก
- มองเห็นได้ชัดเจน จากกระจกมองหลัง
- มองเห็นได้ชัดเจน จากกระจกมองข้างขวา
- มองเห็นได้ชัดเจน จากกระจกมองข้างซ้าย
-
- รถสองแถว
- รถบัส
- รถจักรยานยนต์
- รถยนต์
-
- ทัศนวิสัยชัดเจนมากขึ้น
- ทัศนวิสัยในการมองแย่ลง
- ทัศนวิสัยในการมองด้านข้างดีมากขึ้น
- ไม่ส่งผลต่อทัศนวิสัยในการมอง
-
- ควรปรับกระจกให้มองเห็นด้านข้างของรถเพียง 1/4 ของพื้นที่กระจก
- ควรปรับกระจกให้มองเห็นด้านข้างของรถเพียง 1/6 ของพื้นที่กระจก
- ควรปรับกระจกให้มองเห็นด้านข้างของรถเพียง 1/3 ของพื้นที่กระจก
- ควรปรับกระจกให้มองเห็นด้านข้างของรถเพียง 1/2 ของพื้นที่กระจก
-
- เปลี่ยนช่องจราจร
- การเลี้ยวซ้าย
- การแซงซ้าย
- การเลี้ยวเข้าซอย
-
- เสาสัญญาณไฟจราจรที่บดบังการมองหน้า
- เสาแนวตั้งรอบๆ รถซึ่งอยู่ระหว่างกระจกซึ่งส่งผลต่อจุดอับจุดบอดในขณะขับขี่
- เสาไฟฟ้าที่อยู่บนช่วงถนน
- เสาสัญญาณวิทยุที่อาจจะบดบังทัศนวิสัยในการขับขี่
-
- รถโดยสารเบรก และปาดเข้าเลนซ้าย
- มุมอับจากรถโดยสารขนาดใหญ่ ทำให้ไม่เห็นคนที่ลงจากรถ หรือคนที่กำลังรอข้ามถนนหน้ารถโดยสารที่จอดอยู่
- รถโดยสารเปลี่ยนเลน ขับเข้าช่องจราจรของผู้ขับขี่กะทันหัน
- ถูกทุกข้อ
-
- รถแท็กซี่อาจเปลี่ยนช่องจราจรมาทางซ้าย
- รถบรรทุกอาจเปลี่ยนช่องจราจรไปทางขวา
- รถบรรทุกอาจเลี้ยวซ้าย
- ประตูหลังรถบรรทุกอาจปิดไม่สนิท
-
- ถุงลมนิรภัยทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- รู้ถึงประสิทธิภาพการเบรกของรถ
- การเคลมประกันง่ายยิ่งขึ้น
- บาดเจ็บสาหัส หรือ ตาย
-
- ผู้ขับขี่สามารถเลี่ยงเขม่าดำจากควันรถคันข้างหน้าได้
- ผู้ขับขี่สามารถเร่งความเร็วได้ทุกเมื่อ
- ผู้ขับขี่สามารถกะระยะในการแซงได้
- ผู้ขับขี่สามารถรักษาระยะห่างกับยานพาหนะคันอื่นๆ ได้ในทุกความเร็วที่ขับขี่
-
- 2 วินาที
- 3 วินาที
- น้อยกว่า 3 วินาที
- มากกว่า 3 วินาที
-
- รถจักรยานยนต์อาจทำการแซงทางด้านขวา
- รถจักรยานยนต์อาจออกมาจากเส้นทางรอง
- รถจักรยานยนต์อาจตามหลังในระยะกระชั้นชิด
- รถจักรยานยนต์อาจทำการแซงในทางด้านซ้าย
-
- คนเดินเท้า
- รถโดยสารประจำทาง
- รถจักรยานยนต์
- รถแท็กซี่
-
- ให้สัญญาณไฟเพื่อเตือน
- ตรวจสอบกระจกข้าง กระจกหลังและจุดบอดให้ดีก่อนเปลี่ยนช่องจราจร
- ชะลอความเร็ว
- เร่งความเร็วรถ
-
- รถที่กำลังจะเบรกข้างหน้า
- คนที่กำลังเดินอยู่บนทางเท้า
- จุดอับ จุดบอด
- รถที่วิ่งข้างหน้า
-
- ไฟเบรกของรถคันข้างหน้า
- สีรถของคันข้างๆ
- สัญญาณไฟจราจร
- ทะเบียนรถของคันข้างหน้า
-
- ใช้ความเร็วต่ำ
- เปิดไฟสูง
- ลดหน้าต่างลง
- บีบแตรเพื่อเตือน
-
- ชะลอเข้าเลนขวา
- กลับรถแล้วรีบตั้งลำ และปรับความเร็วให้เหมาะสม
- เปิดไฟเลี้ยวเพื่อส่งสัญญาณให้รถคันหลัง รู้ว่ากำลังว่าจะเข้าเลนขวาเพื่อกลับรถ
- หยุดรถ มองไกลและสังเกตกระแสจราจร ที่กำลังวิ่งสวนมา
-
- เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉินและขับผ่านไปให้เร็วที่สุด
- ชะลอความเร็วลง และตรวจเช็กให้ปลอดภัยจึงขับผ่าน
- หยุดรถหลังเส้นหยุดรถ เมื่อเห็นว่าปลอดภัยจึงขับผ่านไปด้วยความระมัดระวัง
- ขับรถต่อไปตามปกติ เพื่อมิให้เกิดความล่าช้าแก่รถคันที่ตามมา
-
- ตรวจสอบกระจกข้าง กระจกหลัง และ จุดบอดให้ดีก่อนเปลี่ยนช่องจราจร
- ชะลอความเร็ว
- เร่งความเร็วรถ
- ให้สัญญาณไฟเพื่อเตือน
-
- เปิดไฟสูงตลอดเวลาขณะขับขี่
- เปิดไฟฉุกเฉินตลอดเวลาขณะขับขี่
- ขับให้เร็วได้ตามปกติ
- ขับให้ช้ากว่าปกติหรือไม่เร็วกว่าสายตาที่มองเห็น
-
- ชะลอความเร็วลง และขับผ่านไปด้วยความระมัดระวัง
- เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉินและขับผ่านไปให้เร็วที่สุด
- หยุดรถหลังเส้นหยุดรถ เมื่อเห็นว่าปลอดภัยจึงขับผ่านไปด้วยความระมัดระวัง
- ขับรถต่อไปตามปกติ เพื่อมิให้เกิดความล่าช้าแก่รถคันที่ตามมา
-
- เว้นระยะเวลา 1 วินาทีหลังจากสัญญาณไฟเปลี่ยนเป็นสีเขียวแล้วเคลื่อนตัวรถ
- เว้นระยะเวลา 3 วินาทีหลังจากสัญญาณไฟเปลี่ยนเป็นสีเขียวแล้วเคลื่อนตัวรถ
- เปิดไฟฉุกเฉิน
- เร่งรถยนต์ไปไวที่สุด
-
- กลับรถแล้วรีบตั้งลำ และปรับความเร็วให้เหมาะสม
- หยุดรถ มองไกลและสังเกตกระแสจราจร ที่กำลังวิ่งสวนมา
- เปิดไฟเลี้ยวเพื่อส่งสัญญาณให้รถคันหลัง รู้ว่ากำลังว่าจะเข้าเลนขวาเพื่อกลับรถ
- เร่งความเร็วเพื่อแซงเข้าเลนขวา
-
- คนข้ามถนน
- สัตว์วิ่งตัดหน้ารถ
- คนเดินบนทางเท้า
- รถจักรยานยนต์
-
- ตีวงเลี้ยวแคบกว่าการเลี้ยวซ้าย
- หักพวงมาลัยมากกว่าการเลี้ยวซ้าย
- ตีวงเลี้ยวกว้างกว่าการเลี้ยวซ้าย
- เว้นระยะห่างอย่างน้อย 3 วินาทีระหว่างรถของเรากับรถที่วิ่งตรงมาทางขวาและซ้าย
-
- เผื่อระยะสำหรับการแซง
- ช่วยให้รถในเลนอื่นสามารถแซงเข้ามาได้
- ช่วยประหยัดน้ำมัน
- มีเวลาในการมองเห็น สังเกต ตัดสินใจและตอบสนอง
-
- ขนาดของรถที่จะแซง
- ทัศนวิสัยการมองด้านหน้า
- บริเวณที่จะแซง
- ระยะหยุดรถ
-
- สายตาห้ามเคลื่อนไหวและจดจ่ออยู่ที่จุดใดจุดหนึ่ง
- ใช้สายตาให้เคลื่อนไหวสามารถใช้มือถือได้บางช่วงเมื่อรถติด
- สายตาห้ามเคลื่อนไหวและตั้งใจมองป้ายจราจร
- ใช้สายตาให้เคลื่อนไหวและไม่จดจ่ออยู่ที่จุดใดจุดหนึ่ง
-
- ช่วยให้ผู้ขับขี่มีพื้นที่ในการแซง
- ช่วยให้ผู้ขับขี่มีพื้นที่ในการหลบหลีก อันตรายโดยไม่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้
- ช่วยให้ผู้ขับขี่มีพื้นที่ในการเลี้ยว
- ผิดทุกข้อ
-
- ตรวจสอบกระจกข้างและหลัง ทุกๆ 8-12 วินาที
- ตรวจสอบน้ำมันเครื่องก่อนเดินทาง
- การมองไกลข้างหน้า
- ตรวจสอบจุดอับ จุดบอดของรถก่อนที่จะเลี้ยวหรือเปลี่ยนเลน
-
- ลดเสียงลำโพงในรถ แล้วสังเกตโดยรอบ ว่ารถฉุกเฉินมาจากทิศทางไหน
- หักรถเข้าไหล่ทาง
- ลดกระจกรถลงแล้วหักขวาทันที
- เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉิน
-
- เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉินและขับผ่านไปให้เร็วที่สุด
- เพิ่มความเร็วเพื่อให้ผ่านไปได้เร็ว
- บีบแตรเตือนเพื่อความปลอดภัย
- ชะลอความเร็วรถและตรวจเช็กให้ปลอดภัยจึงขับผ่าน
-
- สามารถตรวจเช็กรถที่มาจากทางด้านซ้าย
- สามารถตรวจเช็กจุดบอดจากทางด้านขวาของรถ
- สามารถเปลี่ยนช่องจราจรได้ทันที่ ไม่ต้องให้สัญญาณไฟเลี้ยว
- สามารถเปลี่ยนช่องจราจรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
- น้อยกว่า 1 เมตร
- มากกว่า 0.5 เมตร
- น้อยกว่า 0.5 เมตร
- มากกว่า 1 เมตร